|
|
|
430652-65 | หลักบรรพชีวินวิทยาสำหรับวิทยาศาสตร์ศึกษา |
| Principle of Paleontology for Science Education |
| สังกัด | คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, หลักสูตรวิทยาศาสตรศึกษา |
| หน่วยกิต | 3 (2-3-6) |
| สถานะรายวิชา: | ใช้งาน | คำอธิบายรายวิชา | การศึกษาซากดึกดำบรรพ์ในรูปของเศษซากตะกอนและหลักฐาน ที่บ่งชี้ถึงสาเหตุของการตาย คุณสมบัติและถิ่นฐานที่ก่อให้เกิดซากดึกดำบรรพ์ รูปแบบและ ความอุดมของซากดึกดำบรรพ์ การลำดับชั้นหินทางชีวภาพ ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย ชนิดและแนวคิดเกี่ยวกับชนิดของซากดึกดำบรรพ์ การจำแนกและการตั้งชื่อ ระบบวิทยาทางวิวัฒนาการและสิ่งขัดขวาง ซากดึกดำบรรพ์ของยูคารีโอตส์ ซากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์พวกเมตาซัวและฟองน้ำ ฯ |
| เลือก ปีการศึกษา: 2 / 2566 | | รายชื่อ | | |
| |
| ม.ราชภัฏนครราชสีมา | | ปริญญาโท ภาคพิเศษ เข้า 66 | | กลุ่ม | วัน | เวลา | ห้อง | อาคาร | เรียน | ที่นั่ง(เปิด-ลง-เหลือ) | หมวด | | | | S1 | | อาทิตย์ | 13:00-18:00 | 24.421** | 024 | C | 4 | 4 | 0 | X | | | | | | วิทยาศาสตรศึกษา ปี 1 ขึ้นไป รุ่น 661 หมู่1 ,อาจารย์: | ดร.วิไลลักษณ์ นาคศรี ดร.ดวงสุดา โชคเฉลิมวงศ์ | | | | สำรองให้: | วิทยาศาสตรศึกษา ปี 1 ขึ้นไป รุ่น 661 หมู่1 , | 4-4-0 | | | | สอบปลายภาค: | | |
| คำอธิบายรายวิชา การศึกษาซากดึกดำบรรพ์ในรูปของเศษซากตะกอนและหลักฐาน ที่บ่งชี้ถึงสาเหตุของการตาย คุณสมบัติและถิ่นฐานที่ก่อให้เกิดซากดึกดำบรรพ์ รูปแบบและ ความอุดมของซากดึกดำบรรพ์ การลำดับชั้นหินทางชีวภาพ ซากดึกดำบรรพ์ร่องรอย ชนิดและแนวคิดเกี่ยวกับชนิดของซากดึกดำบรรพ์ การจำแนกและการตั้งชื่อ ระบบวิทยาทางวิวัฒนาการและสิ่งขัดขวาง ซากดึกดำบรรพ์ของยูคารีโอตส์ ซากสิ่งมีชีวิตหลายเซลล์พวกเมตาซัวและฟองน้ำ ฯ หมายเหตุ เรียน C = Lecture L = Lab R = ประชุม S = Self Study T = ติว หมวด 10 = กรณีพิเศษ 11 = วิชาโท 12 = วิชาเลือกเสรี 13 = ชีพเลือก |
|